รูปแบบธุรกิจการเมือง: ปัจจัยเอื้อการสร้างฐานอำนาจทางการเมือง

ผู้แต่ง

  • ภคอร จตุพรธนภัทร นักศึกษา รป.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • สัญญา เคณาภูมิ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม https://orcid.org/0000-0002-9833-4759

DOI:

https://doi.org/10.14456/jasrru.2023.42

คำสำคัญ:

รูปแบบ, ธุรกิจการเมือง, การสร้างฐานอำนาจทางการเมือง

บทคัดย่อ

         การเมืองเป็นเรื่องเกี่ยวกับรูปของรัฐและการจัดระเบียบความสัมพันธ์ภายในรัฐระหว่างผู้ปกครองและผู้ถูกปกครอง โดยเมื่อสังคมมนุษย์ยังมีความจำเป็นที่จะต้องมีรัฐบาล ธุรกิจการเมือง เป็นธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการใช้ความผูกพันและการสร้างความสัมพันธ์ในการเมืองเพื่อส่งผลกระทบต่อธุรกิจรวมถึงการใช้ความมีอิทธิพลของการเมืองเพื่อประโยชน์ส่วนตัวของธุรกิจ ซึ่งอาจเป็นการซื้อขายอำนาจหรือการสนับสนุนการเมืองเพื่อได้รับประโยชน์ทางธุรกิจ อย่างไรก็ตามผลการวิเคราะห์รูปแบบธุรกิจการเมือง ได้แก่ ธุรกิจการเมืองในรูปแบบนอมินี ธุรกิจการเมืองในรูปแบบแสดงเอง ธุรกิจการเมืองในรูปแบบเครือญาติ ธุรกิจการเมืองในรูปแบบกินหัวคิว ธุรกิจการเมืองแบบทางตรง ธุรกิจการเมืองแบบทางอ้อม ธุรกิจการเมืองแบบผิดกฎหมาย และ ธุรกิจการเมืองแบบเปลี่ยนแปลง

Downloads

Download data is not yet available.

References

เกสรี พงษ์สังข์. (2550). นักธุรกิจกับนักการเมือง : ศึกษากรณีธนาคารกรุงเทพฯ พาณิชย์การ จำกัด. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ชัยอนันต์ สมุทวณิช. (2517). ความคิดอิสระ : รวมบทความทางการเมืองระหว่างปี 2511-2516. กรุงเทพฯ : พิฆเณศ.

ชัยอนันต์ สมุทวณิช. (2535). รัฐ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ฌานพากิตติ์ สีหามาตย์. (2566). การเมืองท้องถิ่น ประชุมสัมมนาทางวิชาการ “การเมืองไทย”. ขอนแก่น

ณรงค์ สินสวัสดิ์. (2539). การเมืองไทย: การวิเคราะห์เชิงจิตวิทยา. กรุงเทพฯ : วัชรินทร์การพิมพ์.

ต่อสกุล พุทธพักตร์ และสุวิชา เป้าอารีย์. (2564). ระบบอุปถัมภ์ในคติเห็นแก่เครือญาติ กับการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: กรณีศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งหนึ่ง ในอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา. วารสารการเมืองการปกครอง. 11 (1) : 21-41.

ผู้จัดการออนไลน์. (2566). การเมือง Direct Marketing. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://read.montivory.com/binary-craft/2018/politic-direct-marketing/. สืบค้น 25 มีนาคม 2566.

ผู้จัดการออนไลน์. (2566). ธุรกิจการเมือง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://mgronline.com/politics/detail/9630000066834. สืบค้น 27 มีนาคม 2566.

วอยซ์ทีวี. (2555). ธุรกิจการเมืองกับบทบาทในพรรคการเมือง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.voicetv.co.th/read/58946. สืบค้น 23 มีนาคม 2566.

วิกิพีเดีย. (2566). การเมือง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/การเมือง. สืบค้น 25 มีนาคม 2566.

วิกิพีเดีย. (2566). ธุรกิจ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/ธุรกิจ. สืบค้น 27 มีนาคม 2566.

ศรัณยู พรมใจสา. (2566). ความหมายและความสำคัญของธุรกิจ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://saranyoo06.wordpress.com/. สืบค้น 2 เมษายน 2566.

สรุตา พลไธสงค์ และประกิต กันยาบาล. (2558). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนที่ประกอบอาชีพในภาคธุรกิจ เอกชน: ศึกษาเฉพาะกรณีกลุ่มลูกค้าและบุคลากรของ บริษัท เอ็น.อาร์. เอ็นจิเนียริ่งจำกัด, สำนักงานใหญ่ (กรุงเทพมหานคร). วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา. 4(3) : 212-219.

อรรถสิทธิ์ พานแก้ว (2561). ปรากฏการณ์พรรคนอมินี. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://thestandard.co/political-party-nominee/. สืบค้น 28 มีนาคม 2566.

Lasswell, H. (1927). The Theory of Political Propaganda Harold D. Lasswell. Political Science. 21 : 627-631. https://doi.org/10.2307/1945515.

Pennock, Roland J., & Smith, David G. (1964). Political Science. New York : McMillan.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

01-11-2023

How to Cite

จตุพรธนภัทร ภ., & เคณาภูมิ ส. (2023). รูปแบบธุรกิจการเมือง: ปัจจัยเอื้อการสร้างฐานอำนาจทางการเมือง. วารสารราชภัฏสุรินทร์วิชาการ, 1(6), 103–118. https://doi.org/10.14456/jasrru.2023.42