“บายสะไรเดิม” สัญลักษณ์และการสื่อความหมายด้านการดำเนินชีวิต ของชาวไทยเชื้อสายเขมร

ผู้แต่ง

  • สำเริง อินทยุง นักวิชาการอิสระ บ้านตะโก ตำบลโคกย่าง อำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์
  • ยโสธารา ศิริภาประภากร รองผู้อำนวยการสำนักงานสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดสุรินทร์ แห่งที่ 2 วัดป่าโยธาประสิทธิ์ ตำบลนอกเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
  • สุริยา คลังฤทธิ์ นักวิชาการอิสระ บ้านศาลาสามัคคี ตำบลชบ อำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์

DOI:

https://doi.org/10.14456/jasrru.2023.20

คำสำคัญ:

บายสะไร, ความเชื่อและพิธีกรรม, สัญลักษณ์, ชาวไทยเชื้อสายเขมร

บทคัดย่อ

         “บายสะไรเดิม” เป็นนวัตกรรมที่เกิดฐานคติความเชื่อและนำมาประกอบในพิธีกรรมของมนุษย์ มีการสืบทอดมาแต่โบราณ ในกลุ่มชาวไทยเชื้อสายเขมร ยังเป็นเครื่องบูชาในพิธีกรรมต่าง ๆ ที่สำคัญ วัสดุที่ใช้ประดิษฐ์จากใบกล้วย ม้วนเป็นกรวยแล้วนำมาประกอบกัน มีลักษณะเป็นชั้น ๆ มักนิยม 3 ชั้น 5 ชั้น 7 ชั้น 9 ชั้น แต่ละชั้นจะประดับด้วยขนม ข้าวต้ม กล้วย มะพร้าว ผลไม้อื่น ๆ มีการจัดขึ้นเพื่อเป็นเครื่องบูชา การให้ความสำคัญในลักษณะเป็นสัญลักษณ์การสื่อสารและบูชาต่อเทพเจ้าและอำนาจเหนือมนุษย์ “บายสะไร” ได้เป็นเครื่องบรรณาการแสดงถึงความเคารพและบูชา วัตถุประสงค์เพื่อการเซ่นไหว้ พร้อมการเชิญเทวดาและดวงวิญญาณมาร่วมในพิธีกรรมและอวยพร และสิ่งที่บูชาฐานคติชาวไทยเชื้อสายเขมรมีความเชื่อว่ามีผลด้านความสำเร็จ ต่อผู้ทำพิธีกรรมในด้านความสมปรารถนา จึงถือว่าเป็นบายศรีที่มีความสำคัญมากต่อพิธีกรรมบูชา เทวดา และอำนาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เป็นการสร้างขวัญและกำลังใจ วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ บายศรีของชาวไทยเชื้อสายเขมรยังเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่คงอยู่ถาวรในชุมชนของชาวไทยเชื้อสายเขมรมีการจัดขึ้นเนื่องวาระสำคัญต่างๆ

Downloads

Download data is not yet available.

References

โกลัญญา ศิริสงวน. (2556). สัญลักษณ์ในบายศรีของชาวไทยเขมรสุรินทร์. สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.

ทองดา คลังฤทธิ์. (2565, เมษายน 11). สัมภาษณ์.

ประกอบ ผลงาม. (2538). สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์เขมรถิ่นไทย. กรุงเทพฯ : สหธรรมิก.

ประชา คลังฤทธิ์. (2565, เมษายน 11). สัมภาษณ์.

พจนานุกรม ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : บริษัท นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่น.

พระครูโสภณธรรมรังสี. (2565, กันยายน 19). เจ้าคณะอำเภอเมืองสุรินทร์ (ธ). สัมภาษณ์.

พระเฑียรวิทย์ โอชาวัฒน์. (2548). การศึกษาความเชื่อและพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาของร่างทรง : กรณีศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระสมชาย สิริวัฒโก. (2565, กันยายน 19). สัมภาษณ์.

แม่ชีบัวลิน หมื่นยิ่ง. (2565, กันยายน 19). ผู้มีประสบการณ์. สัมภาษณ์.

ยโสธารา ศิริภาประภากร. (2556). ศึกษาความเชื่อและพิธีกรรมการเข้าทรงของชาวพุทธ : กรณีศึกษาบ้านศาลาสามัคคี ตำบลบ้านชบ อำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์. ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ยโสธารา ศิริภาประภากร. (2559). การสืบเชื้อสายทางวัฒนธรรมด้วยพิธีกรรม แกลมอของชาวไทยกูย. การประชุมวิชาการระดับชาติ ราชมงคลสุรินทร์วิชาการ ครั้งที่ 8 “วิจัยเพื่อพัฒนาประเทศไทย 4.0”. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ (22-23 ธันวาคม) .

ยโสธารา ศิริภาประภากร. (2559). อิทธิพลทางความเชื่อกับรูปแบบวิถีการดำเนินชีวิตพิธีกรรมการสะเดาะเคราะห์ต่ออายุของชาวไทยเขมรสุรินทร์. การประชุมวิชาการระดับชาติราชมงคลสุรินทร์วิชาการ ครั้งที่ 8 “วิจัยเพื่อพัฒนาประเทศไทย 4.0”RSC2016. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ (22-23 ธันวาคม 2559).

ยโสธารา ศิริภาประภากร. (2560). “ระเบี๊ยบเกรืองแซน” องค์ประกอบขั้นตอนของพิธีกรรมกลุ่มชาติพันธุ์ไทยเขมรตามความเชื่อในพิธีกรรมโจ็ลมะม๊วต. วารสารศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. 1(1) : 131-142.

ยโสธารา ศิริภาประภากร. (2560). บายไซเที้ยะ เครื่องบูชาเพื่อเสริมสร้างกำลังใจและความมั่นคงทางด้านจิตใจของชาวไทยเขมรสุรินทร์. นำเสนออินเตอร์เนทชั้นเนล คอนฟอเร้น ปี 2017 ที่ 13-14, 2017. มหาวิทยาลัยนันยาง ประเทศสิงคโปร์.

ว. จีนประดิษฐ์. (2538). อำนาจลึกลับของร่างทรง ฉบับมาตรฐานและสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์รุ่งแสงการพิมพ์.

ศิริพร สุเมธารัตน์. (2535). ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเมืองสุรินทร์. คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.

สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. (2540). วัฒนธรรมกับการพัฒนาทางเลือกของสังคม.กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

สำนักงานจังหวัดสุรินทร์. (2539). บรรยายสรุปจังหวัดสุรินทร์. สุรินทร์ : สำนักงานจังหวัดสุรินทร์.

สำเริง อินทยุง. (2565, กันยายน 19). นักวิชาการอิสระ. สัมภาษณ์.

อิศราพร จันทร์ทอง. (2537). บทบาทหน้าที่ของพิธีกรรมแก็ลมอของชาวกูย บ้านสำโรงทาบ อำเภอสำโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์. ม.ป.ท. มนุษย์วิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฏ.

อุษา หม้อทอง. (2547). การนับถือของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยกูยในประเทศไทยและส่วยในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. โปรแกรมวิชาการวิจัยและพัฒนาท้องถิ่น : มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.

DennySergeant, Global Ritualism. (2542). พิธีกรรมของโลก. แปลโดยทิพยอาภา. กรุงเทพฯ : บริษัท จูนพับลิชชิ่ง จำกัด.

Richard Lawrence. Unlock Your Psychic Powers-ศาสตร์แห่งพลัง. (2542). แปลโดย สมชาย สัมฤทธิ์ทรัพย์. กรุงเทพฯ : มาสเตอร์พริ้งติ้ง.

Steward, Julian H. (1959). The Conecpt and Method of Cultural Ecology. In Readings In Anthropology.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

22-06-2023

How to Cite

อินทยุง ส., ศิริภาประภากร ย., & คลังฤทธิ์ ส. (2023). “บายสะไรเดิม” สัญลักษณ์และการสื่อความหมายด้านการดำเนินชีวิต ของชาวไทยเชื้อสายเขมร. วารสารราชภัฏสุรินทร์วิชาการ, 1(3), 71–88. https://doi.org/10.14456/jasrru.2023.20