การท่องเที่ยวด้านศาสนาเชิงจิตวิญญาณ เพื่อการส่งเสริมเส้นทางแสวงบุญวัดพรหมสุรินทร์ อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์
DOI:
https://doi.org/10.14456/jasrru.2024.42คำสำคัญ:
การท่องเที่ยวด้านศาสนาเชิงจิตวิญญาณ, การส่งเสริมเส้นทางแสวงบุญ, วัดพรหมสุรินทร์, จังหวัดสุรินทร์บทคัดย่อ
บทความนี้มุ้งเน้นการท่องเที่ยวด้านศาสนาเชิงจิตวิญญาณ เพื่อการส่งเสริมเส้นทางแสวงบุญ วัดพรหมสุรินทร์ อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ ประโยชน์ของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมด้านจิตวิญญาณ การสักการะพระพุทธรูป การไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์และเสริมสิริมงคล การท่องเที่ยวด้านศาสนาเชิงจิตวิญญาณ การได้รับความรู้ด้านหลักธรรมและคําสอน การเรียนรู้ความเป็นมา รวมถึงวัฒนธรรมท้องถิ่น เป็นต้น วัดพรหมสุรินทร์ ตําบลในเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ เป็นจุดยุทธศาสตร์ที่สําคัญที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ และพักผ่อน ปฏิบัติธรรม กิจกรรมต่าง ๆ ได้ เพราะวัด มีความโดดเด่นและเป็นเอกลักษณ์ประจําท้องถิ่นของจังหวัดสุรินทร์ และเป็นที่รู้จักของนักท่องเที่ยวจากการเผยแพร่ไปตามสื่อต่างๆ เมื่อวิเคราะห์คุณค่าที่ได้จากการท่องเที่ยวที่มีต่อชุมชน พบว่า (1) คุณค่า พบว่าทําให้เกิดเอกลักษณ์ประจําถิ่น อาจเป็นสิ่งมีความรู้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศาสน สถาน เจดีย์ อนุสรณ์บูรพาจารย์สิ่งที่ได้ทําให้เกิดรายได้แก่ชุมชน จากการนําความโดดเด่นของพื้นที่ให้มาพัฒนา เป็นอย่างสร้างสรรค์ในด้าน ประเพณี วัฒนธรรม ความเป็นมาให้หลากหลายมิติ (2) คุณค่าที่เกิดจากการท่องเที่ยว ผู้เที่ยวได้รับการพัฒนาในด้านจิตใจทําให้ได้รับความรู้ เป็นการช่วยควบคุมจิตและพฤติกรรมได้ในระดับหนึ่ง ทําให้เกิดในด้านสุนทรียศาสตร์ด้วยทางหนึ่งในคณะการท่องเที่ยวและจิตใจที่เอิบอิ่ม (3) คุณค่าทางอิทธิพลของสถานที่พบว่ามีความสําคัญทําให้เกิดพลังในด้านต่างๆ ทําให้ผู้คนได้ปฏิบัติตาม คล้อยตาม เห็นตาม มีความเชื่อในความคุณงามความดี (4) คุณค่าด้านการพัฒนาให้เกิดความน่าสนใจ ดึงดูด เพื่อเข้ามาศึกษา เรียนรู้ ได้แก่ การจัดสถานที่ให้ร่มรื่น (5) คุณค่าด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวให้กับชุมชน
Downloads
References
กฤษนันท์ แสงมาศ, ยโสธารา ศิริภาประภากร, สุทัศน์ ประทุมแก้ว, สุริยา คลังฤทธิ์ และ สําเริง อินทยุง. (2561). การพัฒนาระบบ GPS เพื่อสงเสริมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมปราสาทโบราณจังหวัดสุรินทร์. สุรินทร์ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์. 293 หน้า.
ไกรภพ สาระกุล. (2554). เจาะอารยธรรมโบราณขอมพันป์. กรุงเทพฯ : พรอสเพอร์ เซอร์วิส ซัพพลาย.
ภูมิจิต เรืองเดช. (2542). วรรณกรรมท้องถิ่นจังหวัดบุรีรัมย์. บุรีรัมย์ : เอกสารซีพี.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2552). ชีวิตที่ดีงาม : หลักการทั่วไปของการปฏิบัติธรรม. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/a_fruitful _and _harmonious_life_the_basic_principles_of_dhamma_practising.pdf. สืบค้น14 มิถุนายน 2563.
พระมหาถนอม อานนโท. (2560). คุณคาและอิทธิพลของปราสาทขอม. นครปฐม : โรงพิมพ์สาละพิมพการ.
ยโสธารา ศิริภาประภากร. (2562). รายงานผลการสํารวจเส้นทางแสวงบุญสูวัดไพรพัฒนา จังหวัดศรีสะเกษ. สุรินทร์. 28 หน้า.
ยโสธารา ศิริภาประภากร, สุพัตรา วะยะลุน, ทิตยาวดี อินทรากูร, กฤษนันท์ แสงมาศ และ สุริยา คลังฤทธิ์. (2562). จุดยุทธศาสตร์เส้นทางเศรษฐกิจ การเมือง การปกครองระหวางสองประเทศสูการบูรณาการการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมตามเส้นทางอริยธรรมขอมโบราณ อําเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์. ในการประชุมวิชาการระดับชาติศรีโคตรบูนณ์ศึกษา ครั้งที่ 1 “แลสายน้ําโขงกับงานวัฒนธรรมศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่น”, 2 พฤษภาคม 2562. 635 - 645. นครพนม : มหาวิทยาลัยนครพนม.
ยโสธารา ศิริภาประภากร, พระสําเริง อินทยุง, สุพัตรา วะยะลุน, สุทัศน์ ประทุมแก้ว และ สุริยา คลังฤทธิ์. (2562). การสงเสริมด้านการทองเที่ยวตามเส้นทางแสวงบุญในมิติทางศาสนา : กรณีการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมด้านศาสนา วัดโยธาประสิทธิ์ ตําบลนอกเมือง อําเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์. ในการประชุมวิชาการระดับชาติการทองเที่ยวและการโรงแรมรวมสมัย ครั้งที่ 6 “ทองเที่ยวโรงแรม รวมเสริม รวมสร้าง รวมสมัย”, 6 มิถุนายน 2562. 278 - 286. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วนิดา ขําเขียว.(2558). การทองเที่ยวเชิงแสวงบุญทางพระพุทธศาสนา อําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 11(21) : 123 - 134.
สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดสุรินทร์. (2559). สรุปโครงการสงเสริมการทองเที่ยวเส้นทางแสวงบุญในมิติทางศาสนาจังหวัดสุรินทร์ ประจําปีงบประมาณ 2558. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.m-culture.go.th/surin/images/Book/Sawangboon.pdf. สืบค้น 14 มิถุนายน 2563.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
หมวดหมู่
License
Copyright (c) 2024 วารสารราชภัฏสุรินทร์วิชาการ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.