การพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย “สุขที่ยั่งยืน เกษตรทฤษฎีใหม่”
คำสำคัญ:
สื่อมัลติมีเดีย, เกษตรทฤษฎีใหม่บทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาและประเมินคุณภาพของสื่อมัลติมีเดีย “สุขที่ยั่งยืน เกษตรทฤษฎีใหม่กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา และด้านสื่อมัลติมีเดีย จำนวน 5 คน ใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบประเมินคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง สุขที่ยั่งยืน “เกษตรทฤษฎีใหม่”ภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก ค่าเฉลี่ย 4.67 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.37 ประกอบด้วย ด้านเนื้อหา ด้านการนำเสนอข้อมูล ด้านตัวอักษรและข้อความ ด้านภาพนิ่ง ด้านเสียงและภาษา และด้านภาพเคลื่อนไหว
References
กรมส่งเสริมการเกษตร. กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร. (2560). เกษตรกรรมยั่งยืนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง. ค้นเมื่อ 12 กันยายน 2562, จาก http://new.research.doae.go.th/?p=3896
ธนวัฒน์ เอื้องนิมิตรบุตร, อภิสิทธิ์ ลิขัยมูล.(2561). การพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย เรื่อง “เกษตรทฤษฎีใหม่ตามรอยเท้าพ่อ”. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี.
สุทัศน์ คำภูษา, นันทนา เขียวมณี และศรินันท์ แก้วกาญจนา. (2559). การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเพื่อการนำเสนอ เรื่อง “เกษตรทฤษฎีใหม่”. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี.
ออร์แกนิค ฟาร์ม ไทยแลนด์. (2559). เกษตรทฤษฎีใหม่. ค้นเมื่อ 15 กันยายน 2562, จาก https://www.organicfarmthailand.com/the-new-theory-of-agriculture/
แอนนา พายุพัด. (2558). มัลติมีเดียเพื่อการนำเสนอ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.