สื่อมวลชนกับกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

ผู้แต่ง

  • ลลิตา พ่วงมหา คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

คำสำคัญ:

สื่อมวลชน, ข้อมูลส่วนบุคคล, กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

บทคัดย่อ

ประเทศไทยมีการตราพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 เพื่อให้ความคุ้มครองสิทธิในข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลแก่ประชาชนอย่างเท่าเทียมกันแม้สื่อมวลชนจะมีสิทธิและเสรีภาพในการนำเสนอข่าวสารและความคิดเห็นสู่สาธารณะได้ตามที่กฎหมายรับรองแต่การทำหน้าที่ของสื่อมวลชน อันเป็นการฝ่าฝืนข้อบังคับต่าง ๆ ในพระราชบัญญัติฉบับนี้อาทิการแสวงหาข่าวโดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลของบุคคลอื่นโดยไม่ได้แจ้งให้บุคคลนั้นทราบล่วงหน้า การเผยแพร่ข้อมูลส่วนบุคคลของบุคคลอื่นผ่านสื่อโดยไม่ได้รับความยินยอมจากบุคคลนั้น และทำให้บุคคลนั้นได้รับความเดือดร้อนเสียหายอาจส่งผลให้สื่อมวลชนได้รับบทลงโทษทางกฎหมายสื่อมวลชนจึงจำเป็นต้องศึกษารายละเอียดของพระราชบัญญัติฉบับนี้อย่างจริงจังรวมทั้งใช้ความระมัดระวังในการแสวงหาข่าวและคัดกรองข้อมูลก่อนเผยแพร่สู่สาธารณะให้มากขึ้น

Author Biography

ลลิตา พ่วงมหา, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

หลักสูตรนิเทศศาสตร์

References

คณะกรรมการศูนย์ศึกษาจริยธรรมสื่อมวลชน. (2558). จริยธรรมสื่อ. กรุงเทพมหานคร : จรัญสนิทวงศ์การพิมพ์.

จักร์กฤษ เพิ่มพูล. (2556). กรณีศึกษาด้านจริยธรรมสื่อมวลชน. มีเดีย อินไซด์ เอ้าท์. : 1-6.

บุญยศิษย์ บุญโพธิ์. (2553). สื่อมวลชนกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคล. วารสารนักบริหาร, 30(1) : 86-88.

พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ) คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (2562, 27 พฤษภาคม) ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 136 ตอน 69 ก, หน้า 52-95

พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ) ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 (2560, 24 มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 134 ตอน 10 ก, หน้า 24-35

พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550. (2550, 19 มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 124 ตอน 16 ก, หน้า 1-18

ธนาคารไทยพาณิชย์. (2563, 7 ธันวาคม). PDPA พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เรื่องใกล้ตัวเรากว่าที่คิด. สืบค้นจาก https://www.scb.co.th/th/personal-banking/stories/tips-for-you/pdpa-about-us.html

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560. (2550, 6 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 134 ตอน 40 ก, หน้า 1-90

วนิดา แสงสารพันธ์. (2551). สื่อมวลชนกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคล. วารสารนักบริหาร 28, 2 : 78-81.

ศูนย์ศึกษากฎหมายและนโยบายสื่อมวลชน. (2556). คู่มือการสอนวิชากฎหมายสื่อมวลชนและวิชาจริยธรรมสื่อมวลชน.กรุงเทพมหานคร : จรัญสนิทวงศ์การพิมพ์.

สมควร กวียะ. (2555). การสื่อสารมวลชน : บทบาท สิทธิ เสรีภาพ ความรับผิดชอบ.กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมคิด บางโม. (2551). กฎหมายและจริยธรรมสื่อสารมวลชน. กรุงเทพมหานคร : เอส เค บุ๊คส์.

อรรยา สิงห์สงบ. (2550). กฎหมายและจริยธรรมสื่อสารมวลชน.เอกสารประกอบการสอน คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์. (2539). บทบาทของรัฐในทางด้านสื่อสารมวลชน. กรุงเทพมหานคร: บี เจ เพลท โรเซสเซอร์.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-23