พระเจ้าจิตรเสนกับการสร้างราชอาณาจักรเจนละในยุคขอมโบราณ
DOI:
https://doi.org/10.14456/jasrru.2024.5คำสำคัญ:
พระเจ้าจิตรเสน, อาณาจักรเจนละ, ยุคขอมโบราณบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มุ่งศึกษาถึงพระเจ้าจิตรเสนกับการสร้างราชอาณาจักรเจนละในยุคขอมโบราณ จากการศึกษา พบว่า พนมดงรักเป็นแหล่งประวัติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดในยุคของอาณาจักรเจนละ ซึ่งมีบทบาทต่อพุทธศาสนาที่เป็นแกนกลางของการสร้างประวัติศาสตร์ขอมโบราณในยุคนั้น พนมดงรักเป็นภูเขาที่ทอดตัวยาวกั้นพรมแดนระหว่างไทยกับกัมพูชาโดยเป็นที่ราบสูงจากแหล่งประวัติศาสตร์ในยุคขอมโบราณ ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 6-7 พระเจ้าจิตรเสนเป็นบุคคลสำคัญในการสร้างอาณาจักรเจนละ ในยุคขอมโบราณมีความเจริญรุ่งเรื่องสูงสุดในพุทธศตวรรษที่ 11-12 จากหลักฐานด้านสถาปัตยกรรมในศาสนสถาน โบราณวัตถุ พบศิลาจารึกของพระเจ้าจิตรเสนและแหล่งโบราณคดีที่สำคัญที่แสดงให้เห็นว่าในเขตพื้นที่ของพนมดงรักนั้น เป็นแห่งกำเนิดของการพัฒนาอาณาจักรขอมโบราณก่อนที่มีการสถาปนาศูนย์กลางแห่งอาณาจักรเจนละขึ้นที่ปราสาทวัดภูแขวงจำปาศักดิ์ ประเทศลาว พร้อมทั้งยังมีบทบาทต่อพุทธศาสนาที่สืบเนื่องทอดกันมาจนถึงปัจจุบัน
Downloads
References
กรมศิลปากร กรม. (2535). โบราณคดีเขื่อนปากมูล. กรุงเทพฯ : รุ่งศิลปีการพิมพ์.
คงเดช ประพัฒน์ทอง. (2529). โบราณคดีประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร.
ธิดา สาระยา. (2540). อาณาจักรเจนละ. กรุงเทพฯ : พิฆเณศ พริ้นท์ติ้ง เซ็นเตอร์.
ธิดา สาระยา.(2546). อาณาจักรเจนละ : ประวัติศาสตร์อีสานโบราณ. กกรุงเทพฯ : มติชน.
ธิดา สาระยา.(2538). อาณาจักรเจนละ : ประวัติศาสตร์อีสานโบราณ. กรุงเทพฯ : มติชน.
บุญเรือง คัชมาย์. (2553). จดหมายเหตุเรื่องเมืองเจนละ. สุรินทร์ : โรงพิมพ์รุ่งธนเกียรติ.
ศรีศักร วัลลิโภค. (2531). แอ่งอารยธรรมอีสาน. กรุงเทพฯ : พิฆเนศพพริ้นเติ้งเซ็นเตอร์.
ศรีศักร วัลลิโภค.(2546). แฉหลักฐานโบราณคดี พลิกโฉมหน้าประวัติศาสตร์ไทย แอ่งอารยธรรมอีสาน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : มติชน.
สุภัทรดิศ ดิศกุล. (2546). ประวัติเมืองนครขอม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สามลดา.
สุภัทรดิศ ดิศกุล. (2532). แห่งประวัติเมืองพระนครของขอม. ศิลปวัฒนธรรม. 10(6) : 110-125.
สุริยวุฒิ สุขสวัสดิ. (ม.ร.ว.). (2523). การศึกษาทับหลังแบบเขมรในหน่วยศิลปากรที่ 6 (พิมาย). วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต สาขาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ : ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดีมหาวิทยาลัยศิลปากร.
อุไรศรี วรศะริน. (2545). ประชุมอรรถบท: รวมบทความวิชาการของศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.อุไรศรี วรศะริน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาภาษาตะวันออก มหาวิทยาลัยศิลปกร.
ทวิช จิตรสมบูรณ์. (2566). ขอม สยาม เขมร : ทฤษฎีใหม่ (ตอนที่ 1). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.Gotoknow.org/posts/453669. สืบค้น 7 กุมภาพันธ์ 2566.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
หมวดหมู่
License
Copyright (c) 2024 วารสารราชภัฏสุรินทร์วิชาการ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.