หลักการบริหารศูนย์การเรียนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต

ผู้แต่ง

  • เมธชนนท์ ประจวบลาภ ผู้อำนวยการสถานศึกษา ศูนย์การเรียนเซนต์ ยอห์นบอสโก

DOI:

https://doi.org/10.14456/jasrru.2023.35

คำสำคัญ:

ศูนย์การเรียน, การบริหาร, การเรียนรู้ตลอดชีวิต

บทคัดย่อ

         บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอหลักการบริหารศูนย์การเรียน ในฐานะที่ศูนย์        การเรียนเป็นสถานศึกษาตามกฎหมาย ซึ่งจัดการศึกษาโดยองค์กรที่ไม่ใช่ภาครัฐและเอกชน         โดยเสนอหลักการบริหารที่มุ่งเน้นส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต อันเป็นหลักการจัดการศึกษา      ของประเทศ ด้วยการสังเคราะห์แนวคิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต ร่วมกับ บทบาทของศูนย์การเรียน   กับการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต และประสบการณ์การบริหารศูนย์การเรียนของผู้เขียน      สำหรับหลักการบริหารศูนย์การเรียนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ควรประกอบด้วย                    (1) หลักผสมผสานระหว่างหลักการบริหารกับหลักการเรียนรู้ตลอดชีวิต (2) หลักการมีส่วนร่วม     (3) หลักความยืดหยุ่น และ (4) หลักความเสมอภาค

Downloads

Download data is not yet available.

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2563ก). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.moe.go.th/พรบ-การศึกษาแห่งชาติ-พ-ศ-2542/. สืบค้น 15 กุมภาพันธ์ 2566.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2563ข). พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.moe.go.th/พรบ-ระเบียบบริหารราชการ/. สืบค้น 15 กุมภาพันธ์ 2566.

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน. (2549). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน.

จินตนา สุจจานันท์. (2554). การศึกษาตลอดชีวิตและการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.

ชาตรี เกิดธรรม. (ม.ป.ป.). เทคนิคการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://edu.vru.ac.th/sct/cheet% 20downdload/2.pdf. สืบค้น 15 กุมภาพันธ์ 2566.

พระราชบัญญัติส่งเสริมการเรียนรู้ พ.ศ. 2566. (2566, มีนาคม 19). ราชกิจจานุเบกษา, 140(20ก).

โพสต์ทูเดย์. (2566). ชลน่าน เผยนโยบายการศึกษาเพื่อไทย มีรายได้ เรียนรู้ได้ตลอดชีวิต. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.posttoday.com/politics/689922. สืบค้น 1 กุมภาพันธ์ 2566.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช. 2560. (2560, เมษายน 6). ราชกิจจานุเบกษา, 134(40ก).

วิกร ตัณฑวุฑโฒ. (2530). การบริหารงานการศึกษาผู้ใหญ่. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

เวิร์คพ้อยต์ทูเดย์. (2566). ก้าวไกลเปิดนโยบาย “การศึกษาไทย ไทยก้าวหน้า” ชูเรียนฟรีจริง-ออกแบบหลักสูตรใหม่ใน 1 ปี. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://workpointtoday .com/politic-move-forward-party/. สืบค้น 1 กุมภาพันธ์ 2566.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2562). คู่มือการจัดการศึกษาว่าด้วยสิทธิองค์กรชุมชนและองค์กรเอกชน ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในศูนย์การเรียน. เชียงใหม่ :ร่วมเจริญปริ้น.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2565). รวมกฎกระทรวงว่าด้วยสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานขององค์กรอื่นนอกจากรัฐ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (ม.ป.ป.). รายงานการศึกษาการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อรองรับการผลิกโฉมฉับพลันและวิกฤตการณ์โลก. กรุงเทพฯ : สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม.

สิรินธร สินจินดาวงศ์ และผุสดี กลิ่นเกสร. (2563). การเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับผู้สูงอายุ. การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption in Education”. 1-2 กุมภาพันธ์ 2563. หน้า 1-15. นครราชสีมา : สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์.

สุมาลี สังข์ศรี. (2556). การเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สุมาลี สังข์ศรี. (2558). การพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้เพื่อการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อรอำไพ บุรานนท์. (2554). แนวทางการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตตามความต้องการของผู้สูงอายุ ศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดง สังกัดกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์ระดับมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

01-09-2023

How to Cite

ประจวบลาภ เ. (2023). หลักการบริหารศูนย์การเรียนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต. วารสารราชภัฏสุรินทร์วิชาการ, 1(5), 97–112. https://doi.org/10.14456/jasrru.2023.35