“ปราสาทระแงง” กับการส่งเสริมการท่องเที่ยววัฒนธรรมท้องถิ่น จังหวัดสุรินทร์
DOI:
https://doi.org/10.14456/jasrru.2023.26คำสำคัญ:
ปราสาทระแงง, การส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น, จังหวัดสุรินทร์บทคัดย่อ
ปราสาทระแงง กับการส่งเสริมการท่องเที่ยววัฒนธรรมท้องถิ่น จังหวัดสุรินทร์ ได้กล่าวถึงความเป็นมาของ “ปราสาทระแงง” ที่เป็นโบราณสถานที่สร้างขึ้นในศาสนาพรามหณ์ ฮินดู (ปราสาท-ระ-แงง) มีความสำคัญต่อของชุมชน (ปราสาท-ระ-แงง) มีบทบาทต่อวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ในฐานะเป็นสถานที่ช่วยในการส่งเสริมการท่องเที่ยววัฒนธรรมท้องถิ่น ในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์ได้ มีการจัดงานประจำปีที่สำคัญ คือ การเซ่นไหว้เทพเจ้า และการจัดกิจกรรมประจำท้องถิ่น การรำเพื่อบูชาปราสาท การจัดกิจกรรมการแสดงศิลปะและวัฒนธรรมระดับนานาชาติ เป็นแนวทางในการส่งเสริมให้เกิดการท่องเที่ยววัฒนธรรมท้องถิ่น ที่มีประโยชน์ในด้านเศรษฐกิจ เช่น มีการแสดงศิลปะและวัฒนธรรมนานาชาติ การเดินแฟชั่นผ้าไหม มีการแลกเปลี่ยนสินค้าชุมชน ผลิตผลด้านการเกษตรชุมชน และการเชิญให้มีผู้ท่องเที่ยวที่สนใจได้เข้ามาร่วมชมกิจกรรมทั้งนี้ประโยชน์ที่เกิดขึ้นมีผลทำให้ ชุมชนแถบนี้ได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม ชุมชนจะเกิดความห่วงแหนโบราณสถานและจะร่วมกันรักษาให้คงอยู่ซึ่งมีผลต่อการรักษาสมบัติชาติ และยังรักษาให้เกิดวัฒนธรรมประจำถิ่นของชุมชนด้วย
Downloads
References
กรมศิลปากร. (2550). ประวัติเมืองสุรินทร์. กรุงเทพฯ : สำหนักพิมพ์สถานแห่งชาติกรมศีลปากร. กระทรวงวัฒนธรรม.
กรมศิลปากร. (2550). ประวัติศาสตร์เมืองสุรินทร์. กรุงเทพฯ : อัมรินทร์พริ้นติ้งและพับลิชชิ่ง.
เทพมนตรี ลิมปพะยอม. (2550). (บรรณาธิการ). เนะขแมร์ อินไทยแลนด์: หลากหลายมุมมองและเรื่องราวของปราสาทเขมรในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : มิวเซียม บุคส์.
ธิบดี บัวคำศรี. (2555). ประวัติศาสตร์กัมพูชา หนังสือชุด "อาเซียน "ในมิติประวัติศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เมืองโบราณ.
ยโสธารา ศิริภาประภากร, กฤษนันท แสงมาศ, ทิตยาวดี อินทรางกูร และพระมหาขุนทอง เขมสิริ. (2561). คุณคาและอิทธิพลของปราสาทขอมที่ชวยเสริมสรางความสัมพันธทางวัฒนธรรมทั้งสองประเทศ : กรณีปราสาทตาควายตําบลบักได อําเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร. ใน การประชุมสัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ ครั้งที่ 9 และระดับชาติครั้งที่ 1 ระดับชาติ ในหัวขอ “วัฒนธรรมเชิงพุทธกับการพัฒนาที่ยั่งยืน”. 2 -3 เมษายน 2561. หน้า 22–30. ศรีสะเกษ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยวิทยาลัยสงฆศรีสะเกษ.
ยโสธารา ศิริภาประภากร และสําเริง อินทยุง. (2561). อัตลักษณของปราสาทขอมกับการพัฒนาชุมชนในจังหวัดสุรินทร. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชมงคลสุรินทร ครั้งที่ 9”. 29–31 สิงหาคม 2561. หน้า 452 –461. สุรินทร : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร.
ยโสธารา ศิริภาประภากร, สุพัตรา วะยะลุน, ทิตยาวดี อินทรากูร, กฤษนันท แสงมาศ และสุริยา คลังฤทธิ์. (2562). จุดยุทธศาสตรเสนทางเศรษฐกิจ การเมือง การปกครองระหวางสองประเทศสูการบูรณาการ การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมตามเสนทางอริยธรรมขอมโบราณ อําเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร. ในการประชุมวิชาการระดับชาติศรีโคตรบูนณศึกษา ครั้งที่ 1 “แลสายน้ำโขงกับงานวัฒนธรรมศึกษาเพื่อพัฒนาทองถิ่น”. 2 พฤษภาคม 2562. หน้า 635 -645. นครพนม : มหาวิทยาลัยนครพนม.
ศิริพร สุเมธารัตน์. (2554). ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเมืองสุรินทร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์โอเดียนสโตร์.
เชษฐ์ ติงสัญชลี. (2560). ประวัติศาสตร์ศิลปะ อินเดียและเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ รูปแบบ พัฒนาการ ความหมาย. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ หจก. เรือนแก้วการพิมพ์.
สุทัศน์ กองทรัพย์. (2550). ประวัติศาสตร์เมืองสุรินทร์. สุรินทร์ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.
อชิรัชญ์ ไชยพจน์พานิช. (2557). ศิลปะเวียดและจาม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชนจำกัด (มหาชน).
Michel Petrotchenko. (2014). Angkor temples. the guidebook third edition. printed and bound in Thailand by armrin printing publishing Pcl.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
หมวดหมู่
License
Copyright (c) 2023 วารสารราชภัฏสุรินทร์วิชาการ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.