บุพปัจจัยที่ส่งผลต่อการป้องกันอาชญากรรมของตำรวจภูธรเมืองจังหวัดสุรินทร์

ผู้แต่ง

  • พิชศาล พันธุ์วัฒนา คณะตำรวจศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยตำรวจ

DOI:

https://doi.org/10.14456/jasrru.2024.32

คำสำคัญ:

บุพปัจจัย, ป้องกันอาชญากรรม, ตำรวจภูธรจังหวัดสุรินทร์

บทคัดย่อ

การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปของตัวแปรการให้การศึกษาสาธารณะ การปรับสภาพแวดล้อม การใช้กฎหมายและการลงโทษ การติดตั้งกล้องวงจรปิด และการป้องกันอาชญา กรรม 2) อิทธิพลของการให้การศึกษาสาธารณะ การปรับสภาพแวดล้อม การใช้กฎหมายและการลงโทษ การติดตั้งกล้องวงจรปิดที่มีต่อการป้องกันอาชญากรรม ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาคือ ประชาชนที่อาศัยใน 9 ตำบลของอำเภอเมืองสุรินทร์ ใช้เทคนิคการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เก็บจากประชาชนที่อาศัยตำบล ๆ ละ 45 คน รวมทั้งสิ้น 405 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาได้แก่ อัตราส่วนร้อยละ และเทคนิคการวิเคราะห์เส้นทาง ผลการวิจัยพบว่า 1) ประชาชนส่วนใหญ่พึงพอใจในระดับมากกับการให้การศึกษาสาธารณะ (𝑥̅ = 3.14 จากคะแนนเต็ม 5 / S.D. = 0.49) การปรับสภาพแวดล้อม (𝑥̅ = 3.08 / S.D. = 0.63) การใช้กฎหมายและการลงโทษ (𝑥̅ = 2.96 / S.D. = 0.52) และพึงพอใจจากการติดตั้งกล้องวงจรปิดระดับปานกลาง (𝑥̅ = 2.61 / S.D. = 0.44) 2) การติดตั้งวงจรปิดมีอิทธิพลทางตรงมากที่สุด (ß= .887) ต่อการป้องกันอาชญากรรม ส่วนการให้การศึกษาแก่สาธารณะมีอิทธิพลทางอ้อม (ß= 1.223) และผลรวม (ß= .2.039) มากที่สุดต่อการป้องกันอาชญากรรม

Downloads

Download data is not yet available.

References

ไกรพล ดีแก้ว. (2562). บทบาทของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในการป้องกันการเกิดอาชญากรรมในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์กรณีศึกษาถนนข้าวสาร. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https:/ /rsucon.rsu.ac.th/files/proceedings/nation2019/NA19-079.pdf. สืบค้น 6 มกราคม 2567.

ตำรวจภูธรจังหวัดศรีสะเกษ. (2566). CATEGORY ARCHIVES: ข่าวประชาสัมพันธ์. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.sskpolice.com/new/cate/ศรีสะเกษ. สืบค้น 28 ธันวาคม 2566.

ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์. (2526). การควบคุมอาชญากรรมจากสภาพแวดล้อม: หลักทฤษฎีและมาตรการ. กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

พรชัย ขันตี, จอมเดช ตรีเมฆ และกฤษณพงศ์ พูตระกูล. (2558). ทฤษฎีอาชญาวิทยา: หลักการ งานวิจัย และนโยบายประยุกต์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรังสิต.

มรุตพงศ์ วิเชียรศรี และ ศศิภัทรา ศิริวาโท. (2563). การใช้กล้องวงจรปิด CCTV เพื่อลดปัญหาอาชญากรรม: กรณีศีึกษาพื้นที่จังหวดนนทบุรี. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://rsucon.rs u.ac.th/files/proceedings/nation2020/NA20-045.pdf. สืบค้น 5 มกราคม 2567.

สถานีตำรวจภูธรเมืองลำปาง. (2566). เผยแพร่ประชาสัมพันธ์สื่อเตือนภัยออนไลน์. [ออนไลน]. เข้าถึงไดจาก : http://www.muanglampangpolice.com/. สืบค้น 6 มกราคม 2567.

สถานีตำรวจภูธรเมืองสุรินทร์. (2566). โครงสร้าง อัตรากำลัง และข้อมูลผู้บริหาร. [ออนไลน]. เข้าถึงไดจาก :https://muang.surin.police.go.th/ita-standards/informations/structure-2/. สืบค้น 5 มกราคม 2567.

สถานีโทรทัศน์สำนักงานตำรวจแห่งชาติ. (2566). POLICETV โครงการ RTP Cyber Village. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://policetv.tv/archives/tag/%E0%B9%82%E0%B8%84% E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3-rtp-cyber-village . สืบค้น 5 มกราคม 2567.

สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2558). การสร้างมาตรวัดสาหรับการวิจัยที่ถูกต้องและได้มาตรฐานสากล. กรุงเทพฯ : สามลดา.

สถานีตำรวจนครบาลสำเหร่. (2566). แสวงหาความร่วมมือกับประชาชนในการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://samre.metro.police.go.th. สืบค้น 5 มกราคม 2567.

สำนักงานตำรวจแห่งชาติ. (2566). แนวทางการบริหารราชการแผ่นดินประจำปีงบประมาณ 2567: พลตำรวจเอก ต่อศักดิ์ สุขวิมล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ตำรวจ.

สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ. (2566). โครงการอบรมตำรวจชุมชนสัมพันธ์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ตำรวจ.

สำนักบริหารทะเบียน กรมการปกครอง. (2566). สถิติประชากรอำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.bora.dopa.go.th/exec-stat/. สืบค้น 4 ธันวาคม 2566.

Abramovaite, J., Bandyopadhyay, S., & Cowen, N. (2022). Classical deterrence theory revisited: An empirical analysis of Police Force Areas in England and Wales. European Journal of Criminology. 20(5) : 355-372.

Clarke, R., & Eck, J.E. (2014). Become a Problem-Solving Crime Analyst. [Online]. Retrieved 23 September 2024, from https://www.taylorfrancis.com/books/mo no/10.4324/9781315060965/become-problem-solving-crime-analyst-ronald-clar ke-john-k

Cohen, L.E., & Felson, M. (1979). Social Change and Crime Rate Trends: A Routine Activity Approach. American Sociological Review. 44(4) : 588-608.

Cronbach, L.J. (1951). Coefficient alpha and the internal structure of tests. Psychometrika. 16 : 297–334.

Harris, J.E. (2022). Application of Path Analysis and Structural Equation Modeling in Nutrition and Dietetics. Journal of the Academy of Nutrition and Dietetics. 121(11) : 154-168.

Petersen, K., Weisburd, D., Fay, S., Eggins., & Mazerolle, L. (2023). Police stops to reduce crime: A systematic reviewand meta‐analysis. Campbell Systematic Reviews. 19(1) : 1-42.

Suryani, A., & Herianti, E. (2023). Purposive sampling technique and ordinary least square analysis: Investigation the relationship between managerial overconfidence, transfer pricing and tax management in Indonesian stock exchange listed firms. International Journal of Professional Business Review. 8(1) : 1-23.

Thomas, A., Piza, E.L., Welsh, C., & Farrington, D.P. (2022). The internationalisation of cctv surveillance: Effects on crime and implications for emerging technologies. International Journal of Comparative and Applied Criminal Justice. 46(2) : 1-22.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

25-09-2024

How to Cite

พันธุ์วัฒนา พ. (2024). บุพปัจจัยที่ส่งผลต่อการป้องกันอาชญากรรมของตำรวจภูธรเมืองจังหวัดสุรินทร์. วารสารราชภัฏสุรินทร์วิชาการ, 2(5), 53–72. https://doi.org/10.14456/jasrru.2024.32