การศึกษาผลกระทบของเจ้าพ่อปราสาททองเขตพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์
DOI:
https://doi.org/10.14456/jasrru.2024.35คำสำคัญ:
เจ้าพ่อปราสาททอง, ผลกระทบ, อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง, จังหวัดบุรีรัมย์บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นงานศึกษาผลกระทบของเจ้าพ่อปราสาททอง เขตพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ โดยเก็บข้อมูล จากการศึกษาเอกสาร ข้อมูลความเชื่อ ผลกระทบและบทบาท มีการสัมภาษณ์เชิงลึก ร่วมกับการสัมภาษณ์พูดคุยแบบไม่เป็นทางการ เป็นหลักในการเก็บข้อมูลกับผู้กระทำการต่าง ๆ ภายใต้อาณาบริเวณ ที่ใช้ในการศึกษา ร่วมกับวิธีการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม กับผู้เกี่ยวข้องต่าง ๆ เพื่อตรวจสอบข้อมูลไปวิเคราะห์ข้อมูลและนำเสนอข้อมูลเชิงพรรณนาวิเคราะห์.
ผลการศึกษาพบว่า. ความเชื่อที่มีต่อเจ้าพ่อปราสาททอง. ชุมชนโดยรอบเขาพนมรุ้ง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ ความเชื่อที่มีต่อเชื่อเป็นดวงวิญญาณที่มีอำนาจเหนือมนุษย์ ที่มีบทบาทหน้าที่คุ้มครอง ดูแล และรักษาชุมชน. และผู้คนในชุมชนโดยรอบภูเขาพนมรุ้งแห่งนี้. เจ้าพ่อปราสาททองยังเป็นสัญลักษณ์ในความอุดมสมบูรณ์ด้านความปลอดภัย ความโชคดี. การเกษตรและฝน. พิธีกรรมของชุมชน. และมีฐานคติความเชื่อว่าจะนำมาซึ่ง. ความอุดมสมบูรณ์ทางการเกษตรและฟ้าฝนที่อำนวยในการทำการเกษตรรายย่อย. มักต้องการความปลอดภัยและความมีโชค และการประกอบธุรกิจการงานอาชีพของตนเอง. ผลกระทบจากพิธีกรรมของชุมชน (1) ด้านความเชื่อ (2) ด้านวัฒนธรรมและประเพณี (3) ด้านทางสังคม (4) ด้านเศรษฐกิจ (5) ด้านการปกครองในรูปแบบชุมชน (6) ผลกระทบที่เกิดจากความเชื่อที่มีต่อเจ้าพ่อปราสาททอง เป็นต้น
Downloads
References
กรมการศาสนา. (2552). พิธีกรรมและประเพณี. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
กฤษนันท์ แสงมาศ และยโสธารา ศิริภาประภากร. (2561). พิธีแซนอาหยะจูยประจำปีของปราสาทบ้านโพธิ์ศรีธาตุ ตำบลเกาะแก้ว อำเภอสำโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์. วารสารวิชาการ มจร บุรีรัมย์. 4(1) : 110-124.
ก่องแก้ว เจริญอักษร. (2541). ความรู้เรื่องธรรมวิทยา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จรัส พยัคฆราชศักดิ์. (2538). การศึกษาเรื่องของท้องถิ่น. มหาสารคาม : ภาควิชาประวัติศาสตร์.
จารุวรรณ ธรรมวัตร. (2530). คติชาวบ้าน. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม.
จำนง อดิวัฒนสิทธิ์. (2525). สังคมวิทยาศาสนา. กรุงเทพฯ : แพร่วิทยา.
ณรงค์ เส็งประชา. (2541). มนุษย์กับ สังคม. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โอ.เอส. พริ้นติ้งเฮาส์.
บรรเทิง พาพิจิตร. (2532). ประเพณี วัฒนธรรมไทย และคติความเชื่อ. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
บุญศรี ตาแก้ว. (2545). ธรรมเนียมประเพณีอีสาน. กรุงเทพฯ : ส. ธรรมภักดี.
ยโสธารา ศิริภาประภากร, พระกิตติศักดิ์ สุจิตโต และพระธีร์ละล้าน ฐิตธมฺโม. (2563). ความเชื่อและสัญลักษณ์ในพิธีกรรมของกลุ่มชาวไทยกูย. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ราชมงคลสุรินทร์วิชาการ ครั้งที่ 11 “วิจัยและนวัฒกรรมวิถีใหม่”. 17-18 กันยายน 2563.. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
หมวดหมู่
License
Copyright (c) 2024 วารสารราชภัฏสุรินทร์วิชาการ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.